จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์ ว่าด้วยวิธีการ ตะอ์ศีล อัล-มะสาอิล หรือการหาค่าฐานของปัญหาในการแบ่งมรดก โดยแยกประเภทต่างๆ ของปัญหาตามลักษณะความแตกต่างของทายาทผู้รบมรดก
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์ ว่าด้วยประเภทบุคคลที่สามารถรับมรดกแบบอะเศาะบะฮฺ หรือส่วนที่เหลือจากทายาทที่รับมรดกแบบอัตราส่วนที่กำหนด อธิบายสาเหตุที่ทำให้สามารถรับมรดกแบบนี้ได้ คือ เนื่องจากเชื้อสาย ทั้งที่รับโดยตนเอง รับเพราะเหตุแห่งคนอื่น หรือรับพร้อมกับคนอื่น และการรับมรดกเนื่องจากสาเหตุ
อัศหาบ อัลฟุรูฎ - ผู้รับมรดกตามอัตราส่วนที่ถูกกำหนด จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับการอธิบายส่วนต่างๆ ของผู้สืบมรดกที่มีสิทธิได้ตามอัตราส่วนที่ถูกกำหนด เช่น สิทธิของแม่, พี่น้องร่วมแม่, ย่าและยาย, สามีและภรรยา พร้อมตัวอย่างการแบ่ง
การชดใช้หนี้สิน - (ไทย)
อธิบายหะดีษต่างๆ ว่าด้วยการเตือนให้ชดใช้หนี้สิน และภัยจากการไม่ยอมใช้หนี้ ซึ่งเป็นเหตุให้ต้องรับโทษในสุสานและถูกกักกันไม่ให้เข้าสวรรค์ในวันกิยามะฮฺ รวมทั้งแนะนำข้อปฏิบัติต่างๆ สำหรับเจ้าหนี้และลูกหนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
ความประเสริฐของการปลูกต้นไม้ - (ไทย)
เป็นเมตตาของอัลลอฮฺและเป็นความโปรดปรานอันไพศาลของพระองค์ประการหนึ่งคือ มุสลิมเราเมื่อปลูกต้นอินทผลัมหรือต้นใดๆก็ตาม แล้วทุกสิ่งทุกอย่างที่มีนก สัตว์หรือคนมาบริโภคมัน ก็จะถือเป็นเศาะดะเกาะฮฺของเขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
กฎเกณฑ์การซื้อขายบางประการ - (ไทย)
ในหะดีษเหล่านี้มีกฎเกณฑ์บางอย่างของการค้าการขาย ที่คนหลาย ๆ คนมักพลาดพลั้งกระทำผิดไป ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงได้เตือนไว้เพราะมีผลดีทั้งทางด้านศาสนาและดุนยา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
พินัยกรรมและหลักการของมัน - (ไทย)
คนเราบางทีอาจสิทธิ์ที่ต้องทำให้คนอื่น และเขาไม่รู้ว่าความตายจะมาจู่โจมเมื่อไหร่ ด้วยเหตุนี้ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม จึงใช้ให้เขียนบันทึกคำสั่งเสีย และได้กำหนดกฏเกณฑ์ที่มุสลิมควรเรียนรู้เอาไว้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
ท่านรซูลได้ห้ามการขอผู้อื่นโดยไม่จำเป็น เพราะมันเป็นเหตุให้จิตใจตกต่ำ ลุ่มหลงดุนยา และมัวแต่สะสมมัน และบอกว่าผู้ใดที่เคยชินกับการขอผู้อื่นจะมาในวันกิยามะฮฺที่ใบหน้าของเขาไม่มีชิ้นเนื้อใดๆ เป็นผลจากการไม่มีความอายเที่ยวแบมือขอคนในโลกดุนยานี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
ข้อปฏิบัติบางประการในเรื่องมรดก - (ไทย)
อัลลอฮฺทรงกำหนดส่วนแบ่งมรดกไว้ในคัมภีร์ของพระองค์แล้ว และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ได้อธิบายอย่างกระจ่างแจ้ง ไม่ได้ปล่อยให้เป็นตามอารมณ์หรือความปรารถนาของแต่ละคน และท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิ วะสัลลัม ได้ห้ามละเมิดในสิ่งที่อัลลอฮฺทรงบัญญัติให้แก่บ่าวของพระองค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
วะศิยะฮฺ การเขียนคำสั่งเสีย - (ไทย)
กล่าวถึงความสำคัญของการวะศิยะฮฺ หรือคำสั่งเสีย ซึ่งเป็นสิ่งที่อิสลามสนับสนุนให้กระทำ อันเนื่องจากมีผลประโยชน์ต่อมุสลิม พร้อมระบุหลักฐานต่างๆ ที่ให้ความสำคัญในเรื่องดังกล่าวนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
คำเตือนเกี่ยวกับดอกเบี้ย - (ไทย)
อธิบายอันตรายของริบาหรือดอกเบี้ย ซึ่งเป็นบาปใหญ่ประการหนึ่งที่อัลลอฮฺห้ามอย่างหนัก มีผลที่ต้องรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งผู้ให้ ผู้รับ สักขีพยาน ผู้จดบันทึก รวมถึงฟัตวาบางข้อที่เกี่ยวข้องกับประเด็นการใช้บัตรเครดิต เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
การบริโภคทรัพย์สินที่ต้องห้าม - (ไทย)
บทความว่าด้วยการตักเตือนจากการบริโภคจากทรัพย์สินที่ได้มาโดยไม่ถูกต้องชอบธรรม พูดถึงคำสั่งห้ามไม่ให้กระทำดังกล่าวจากโองการอัลกุรอานและหะดีษ และอธิบายพิษภัยของมันจากคำสอนอิสลาม รวมถึงคำเตือนจากบรรดาผู้รู้ในยุคแรกของอิสลามเกี่ยวกับเรื่องนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์